วันศุกร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้สัญลักษณ์ พร้อม 1 ตัวอย่าง

เป็นการถ่ายทอดความคิดในรูปแบบแผนภาพ โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เรียกว่า การเขียนผังงาน (flowchart )  เพื่อใช้สำหรับสื่อสารขั้นตอนวิธีในการแก้ไขปัญหาให้เข้าใจตรงกัน



วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้รหัสจำลอง พร้อม 1 ตัวอย่าง

       เป็นรหัสคำสั่งที่ใช้เขียนเลียนแบบคำสั่งโปรแกรมอย่างย่อรหัสจำลองจะใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ


การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการเขียนบรรยาย พร้อม 1 ตัวอย่าง

ตัวอย่าง จงเขียนผังงานสำหรับอ่านข้อมูลซึ่งประกอบด้วย เลขประจำตัว ชื่อ อายุ และความสูงของ   นักเรียนหนึ่งคน แล้วพิมพ์จอภาพ
รายละเอียดของปัญหา : พิมพ์เลขประจำตัว ชื่อ อายุ และความสูงของนักเรียน
การวิเคราะห์ : ขั้นตอนการพิมพ์เลขประจำตัว ชื่อ อายุ แลัความสูงของนักเรียน
การออกแบบขั้นตอนวิธีการ : 
1. ข้อมูลออกหรือผลลัพธ์ คือ เลขประจำตัว ชื่อ อายุและความสูงของนักเรียน
2. ข้อมูลเข้า ได้แก่ เลขประจำตัวแทนด้วย id
                          ชื่อ แทนด้วย name
                          อายุ แทนด้วย age 
                          ความสูง แทนด้วย height
3. วิธีการประมวลผล ดังนี้

การออกแบบขั้นตอนวิธี จากมุมเทคโนโลยี

ความสามมารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
1. รับข้อมูลเข้าจากสื่อต่างๆ
2. คำนวณทางคณิตศาสตร์
3. เปรียบเทียบค่าสองค่า 
4. เคลื่อนย้ายข้อมูลในหน่วยความจำ
ความสามารถของคอมพิวเตอรืตามลำดับก่อน-หลัง มีดังนี้
1. การกำหนดค่าเริ่มต้น ( initialization ) คือ การกำหนดค่าให้กับตัวแปรบางชนิด
2. การรับข้อมูล ( input ) คือ การรับตัวแปรเข้ามาซึ่งตัวแปรจะได้จากการวิเคราะห์โจทย์ โดยกรรับข้อมูลจะทำก่อนการนำตัวแปรเข้ามา
3. การคำนวณ ( computation ) 


4. การแสดงข้อมูล ( output ) คือ การแสดงค่า ซึ่งจะทำหลังจากการรับข้อมูลและการคำนวณ
5.การเปรียบเทียบ ( seiection ) คือ เป็นการเลือกทิศทางการทำงาน โดยมีเงื่อนไขในการปรียบเทียบที่ชัดเจน


6.การเปรียบเทียบเชิงตรรกะ






วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยนำเสนอรูปแบบแผนผังความคิดและอธิบายรายละเอียด

1.ขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยนำเสนอรูปแบบแผนผังความคิดและอธิบายรายละเอียด



1.1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ( state the problem )
      เป็นขั้นตอนแรกก่อนที่จะลงมือ จุดประสงค์ คือ การทำความเข้าใจปัญหา เพื่อพิจารณาว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขนั้นคืออะไร
      1.) การระบุข้อมูล ( output specification )
      2.) การระบุข้อมูลเข้า ( input specification )
      3.) การกำหนดวิธีการประมวลผล ( process specification )
1.2 การเลือกเครื่องมืและออกแบบวิธี ( tools and agorithm development )
      เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ไขปัญหาอย่าละเอียดถี่ถ้วน สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ความสามารถในการใช้งานเครื่องมือนั้นๆของผู้แก้ไขปัญหา อีกสิ่งหนึ่งในการแก้ไขปัญหา คือ ขั้นตอนวิธี ( algorithm )
1.3 การดำเนินการแก้ไขปัญหา ( implementation )
     ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนลงมือแก้ไขปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่ได้เลือกไว้ โดยผู้แก้ไขปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ
1.4 การตรวจสอบและปรับปรุง ( refinrment )
      หลังจากลงมือแก้ไขปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนั้นให้ผลลัพธ์ถูกต้องหรือไม่